ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย (Physical fitness) หมายถึง ภาพความสามารถของร่างกายในการประกอบการงานหรือ กิจกรรมทางกาย อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอย่างดีโดยไม่เหนื่อยเร็ว สมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาการทางด้านร่างกาย ของมนุษย์ สมรรถภาพทางกายของบุคคลทั่วไปจะเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนไหวร่างกาย หรือออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่ถ้าหยุดออกกำลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงเมื่อใด
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
1.ความทนทานของระบบไหลเวียนเลือด (Cadiovascular Endurance)
2.ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength)
3.ความทนทานของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance)
4.กำลัง (Power)
5.ความเร็ว (Speed)
6.ความคล่องตัว (Agility)
7.ความอ่อนตัว (Flexibility)
8.การทรงตัว (Balance) อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หน่วยที่ 12 การช่วยฟื้นคืนชีพ
หมายถึง การช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น ให้มีการหายใจและการไหลเวียนกลับคืนสู่สภาพเดิม ป้องกันเนื้อเยื่อได้รับอันตรายจากการขาดออกซิเจนอย่างถาวร ซึ่งสามารถทำได้โดยการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (Basic life support) ได้แก่ การผายปอด และการนวดหัวใจภายนอก
ภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น
ภาวะหยุดหายใจ (respiratory arrest) และภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiac arrest) - เป็นภาวะที่มีการหยุดการทำงานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจและการไหลเวียนเลือด ส่วนมากมักจะพบว่ามีการหยุดหายใจก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จะทำให้เสียชีวิตได้
อ่านเพิ่มเติม
ภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น
ภาวะหยุดหายใจ (respiratory arrest) และภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiac arrest) - เป็นภาวะที่มีการหยุดการทำงานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจและการไหลเวียนเลือด ส่วนมากมักจะพบว่ามีการหยุดหายใจก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จะทำให้เสียชีวิตได้
อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ 11 สัมพันธ์ดี มีไมตรี เลี่ยงความขัดแย้ง
ปัจจัยในการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล
ปัจจัยที่จะสร้างให้คนมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันประกอบด้วยลักษณะต่างๆ ดังนี้
1.บุคลิกภาพที่ดี หรือนิสัยเฉพาะส่วนตัวที่ดีของบุคคลที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนเป็นจุดแรกก็คือ รูปร่าง หน้าตา ลักษณะท่าทาง การแสดงออก และการแต่งกายที่ดูดีมีสง่า มีส่วนดึงดูดความสนใจให้คนอยากเป็นมิตร อยากสนทนาพูดคุยด้วย
2.กิริยาท่าทาง หรือการแสดงออกต่อสายตาของบุคคลอื่น ทำให้คนที่พบเห็นชอบหรือไม่ชอบก็ได้
3.การพูด การพูดที่ดี มีศิลปะในการพูด ใช้คำพูดที่สุภาพ พูดให้เกียกับคนที่เราพูดด้วย
4.สายตา สาตตาจะบ่งบอกถึงความรู้สึกนึกคิด คนที่คิดดีสายตาจะแสดงออกถึงความเป็นมิตร ไม่เสแสร้ง
5.จิตใจดี มองโลกในแง่ดีมีความจริงใจให้แก่เพื่อน การแสดงออกต่อบุคคลอื่นจะเป็นเรื่องดีๆเป็นส่วนใหญ่ และเสมอต้นเสมอปลาย
6.สติปัญญาดีและไหวพริบดี จะช่วยให้รู้จักสังเกตและพิจารณาคนที่คุยด้วยพูดสนทนาด้วยว่าเป็นคนอย่างไร จะช่วยให้การสร้างสัมพันธภาพง่ายขึ้น อ่านเพิ่มเติม
ปัจจัยที่จะสร้างให้คนมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันประกอบด้วยลักษณะต่างๆ ดังนี้
1.บุคลิกภาพที่ดี หรือนิสัยเฉพาะส่วนตัวที่ดีของบุคคลที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนเป็นจุดแรกก็คือ รูปร่าง หน้าตา ลักษณะท่าทาง การแสดงออก และการแต่งกายที่ดูดีมีสง่า มีส่วนดึงดูดความสนใจให้คนอยากเป็นมิตร อยากสนทนาพูดคุยด้วย
2.กิริยาท่าทาง หรือการแสดงออกต่อสายตาของบุคคลอื่น ทำให้คนที่พบเห็นชอบหรือไม่ชอบก็ได้
3.การพูด การพูดที่ดี มีศิลปะในการพูด ใช้คำพูดที่สุภาพ พูดให้เกียกับคนที่เราพูดด้วย
4.สายตา สาตตาจะบ่งบอกถึงความรู้สึกนึกคิด คนที่คิดดีสายตาจะแสดงออกถึงความเป็นมิตร ไม่เสแสร้ง
5.จิตใจดี มองโลกในแง่ดีมีความจริงใจให้แก่เพื่อน การแสดงออกต่อบุคคลอื่นจะเป็นเรื่องดีๆเป็นส่วนใหญ่ และเสมอต้นเสมอปลาย
6.สติปัญญาดีและไหวพริบดี จะช่วยให้รู้จักสังเกตและพิจารณาคนที่คุยด้วยพูดสนทนาด้วยว่าเป็นคนอย่างไร จะช่วยให้การสร้างสัมพันธภาพง่ายขึ้น อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ 10 สารเสพติดให้โทษ
สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็นวันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศทั่วโลกประสบอยู่รวมทั้งประเทศไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจแต่ปัจจุบันสารเสพติดกลับแพร่ระบาดเข้าไปสู่เยาวชนในสถานศึกษาแทน ซึ่งหากไม่มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพียงพอแล้ว เยาวชนในสังคมทั่วประเทศไทยก็จะตกอยู่ในอันตรายอย่างใหญ่หลวงรัฐบาลจึงได้กำหนดให้ปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติดในสถานศึกษาเป็นปัญหาระดับนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการ โดยเร่งสร้างความตระหนักให้ทุกคนในสังคมร่วมรับผิดชอบร่วมรณรงค์ ป้องกัน และให้ความรู้อย่างครอบคลุมด้วยกระบวนการเรียนการสอนที่ทันสมัยแก่เยาวชน ซึ่งจะเป็นกลวิธีหนึ่งที่จะทำให้เยาวชนมีความรู้ มีความเข้าใจและตระหนักถึงมหันตภัยของสารเสพติด เกิดเป็นเจตคติที่ดีที่จะดำเนินชีวิตให้ห่างไกลและปลอดภัยจากสารเสพติดทุกชนิดได้ด้วยตนเอง อ่านเพิ่มเติม
วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็นวันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศทั่วโลกประสบอยู่รวมทั้งประเทศไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจแต่ปัจจุบันสารเสพติดกลับแพร่ระบาดเข้าไปสู่เยาวชนในสถานศึกษาแทน ซึ่งหากไม่มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพียงพอแล้ว เยาวชนในสังคมทั่วประเทศไทยก็จะตกอยู่ในอันตรายอย่างใหญ่หลวงรัฐบาลจึงได้กำหนดให้ปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติดในสถานศึกษาเป็นปัญหาระดับนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการ โดยเร่งสร้างความตระหนักให้ทุกคนในสังคมร่วมรับผิดชอบร่วมรณรงค์ ป้องกัน และให้ความรู้อย่างครอบคลุมด้วยกระบวนการเรียนการสอนที่ทันสมัยแก่เยาวชน ซึ่งจะเป็นกลวิธีหนึ่งที่จะทำให้เยาวชนมีความรู้ มีความเข้าใจและตระหนักถึงมหันตภัยของสารเสพติด เกิดเป็นเจตคติที่ดีที่จะดำเนินชีวิตให้ห่างไกลและปลอดภัยจากสารเสพติดทุกชนิดได้ด้วยตนเอง อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ 9 ป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drug) คือยาที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดพลาด
ในกระบวนการรักษา และก่อให้เกิดอันตราย อาจถึงแก่ชีวิตหากเกิดความผิดพลาด
ในการใช้ยา หรือบริหารยา ดังนั้นจึงควรมีข้อตกลงร่วมกันในขั้นตอนการสั่งใช้ยา
การจ่ายยา การบริหารยาหรือให้ยาแก่ผู้ป่วย โดยอาศัยความร่วมมือกันของ
สหสาขาวิชา ได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล เพื่อลด
โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดและอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้ยานั้น
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้สร้างความตระหนักและกำหนดแนวทาง
ปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น ยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่
1.สารละลาย Electrolyte ในรูปแบบยาฉีด Potassium chloride, Calcium gluconate, Magnesium sulphate , Dipotassium phosphate 2.ยากลุ่ม Cardiogenic drug ได้แก่ Adrenaline, Amiodarone, Digoxin, Dopamine, Dobutamine
3.ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ได้แก่ Heparin,
4.ยากลุ่ม Insulin
5.ยากันชัก Phenytoin
6.ยารักษาเชื้อรา ได้แก่ Amphotericin B
7.ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ Vancomycin
8.ยาเสพติดให้โทษ ได้แก่ Morphine, Fentanyl, Pethidine
9.ยาเคมีบำบัด
10.ยาที่เคยเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาในระดับความรุนแรง G,H,I
อ่านเพิ่มเติม
ในกระบวนการรักษา และก่อให้เกิดอันตราย อาจถึงแก่ชีวิตหากเกิดความผิดพลาด
ในการใช้ยา หรือบริหารยา ดังนั้นจึงควรมีข้อตกลงร่วมกันในขั้นตอนการสั่งใช้ยา
การจ่ายยา การบริหารยาหรือให้ยาแก่ผู้ป่วย โดยอาศัยความร่วมมือกันของ
สหสาขาวิชา ได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล เพื่อลด
โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดและอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้ยานั้น
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้สร้างความตระหนักและกำหนดแนวทาง
ปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น ยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่
1.สารละลาย Electrolyte ในรูปแบบยาฉีด Potassium chloride, Calcium gluconate, Magnesium sulphate , Dipotassium phosphate 2.ยากลุ่ม Cardiogenic drug ได้แก่ Adrenaline, Amiodarone, Digoxin, Dopamine, Dobutamine
3.ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ได้แก่ Heparin,
4.ยากลุ่ม Insulin
5.ยากันชัก Phenytoin
6.ยารักษาเชื้อรา ได้แก่ Amphotericin B
7.ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ Vancomycin
8.ยาเสพติดให้โทษ ได้แก่ Morphine, Fentanyl, Pethidine
9.ยาเคมีบำบัด
10.ยาที่เคยเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาในระดับความรุนแรง G,H,I
อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ 8 ใส่ใจความปลอดภัย
ภัยในบ้าน
บ้านถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ เพราะที่อยู่อาศัยของคนเรา
ปกติแล้วในบ้านน่าจะเป็นที่ปลอดภัยสำหรับคนในบ้าน
แต่ก็มีบ้างบางครั้งที่จะเป็นที่เกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุที่ไม่คาดคิดภายในบ้าน
เช่น
1.การพลัดตกหกล้ม อาจเกิดขึ้นภายในบ้านและอาจทำให้บาดเจ็บ
จึงควรคำนึงถึงสิ่งเหล้านี้ด้วย
1.1 ควรล้างห้องน้ำให้สะอาดเสมอไม่ให้ลื่น เพราะอาจทำให้ลื่นล้มในห้องน้ำได้
จนอาจหัวฟาดพื้นได้ จนถึงต้องเข้าโรงพยาบาล
1.2 การยกของขึ้นหรือลงบันได อย่าละสายตาจากทางเดินหรือยกของหนักจนเกินไป
1.3 ถ้าพื้นบ้านปูนหรือกระเบื้องน้ำหก จนอาจเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย จึงควรเช็ดให้แห้งทันที
2. ภัยจากไฟฟ้า ขณะนี้แทบจะ 100%ที่ทุกครั้งหลังใช้ไฟฟ้าใช้แล้ว จึงอาจเกิดเหตุที่อันตรายมาก
เพราะเราไม่สามารถมองเห็นไฟฟ้าได้ และวิธีมีการป้องกันดังนี้
2.1 ถ้ามือเปียกหรือยืนในที่เปียก
ก็ไม่ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
2.2 ควรติดเต้าเสียบให้สูงกว่าไม่น้อยกว่าพื้นประมาณ 1.20 เมตรเพื่อไม่ให้เด็กเล็กเข้าใกล้ได้
2.3 ควรใช้ฟิวส์ขนาดพอเหมาะกับวงจรไฟฟ้า
3. ภัยจากแก๊สหุงต้ม
ภัยที่มักพบ ได้แก่แก๊สรั่ว แก๊สระเบิด
ควรระมัดระวังเป็นอย่างมากเพราะก่อให้เกิดเหตุที่อันตรายอย่างมากซ้ำแล้วยังทำให้คนรอบข้าง
หรือบ้านใกล้เรือนเคียงได้ได้รับความเสียหาย และมีวิธีป้องกันดังนี้
3.1 ควรตั้งถังแก๊สให้ห่างจากผนังพอสมควร
และตั้งในที่ระบายอากาศได้ดี
3.2 ตั้งถังแก๊สในพื้นที่ที่แข็ง
3.3อย่านอนถังแก๊ส
ตั้งไว้เสมอไม่เคลื่อนย้ายขณะที่ใช้งาน
เด็ดขาด อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ 7 สุขภาพชุมชน
การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญต่อการสร้างเสริมสุขภาพ
ซึ่งส่งผลทำให้มีสุขภาวะทางกายทางจิตใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณ
ชุมชนจะมีสุขภาพดีได้นั้น ต้องสร้างแนวร่วมทางด้านสุขภาพ โดยใช้สมาชิกในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย ระดมความรู้ความสามารถ รวมทั้งระบุความต้องการทางด้านสุขภาพของคนในชุมชนโดยส่วนรวม เพื่อจำทำโครงการหรือจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเพื่อคนของชุมชน ทั้งนี้จะต้องไม่ลืมภูมิปัญญาทางการแพทย์องชุมชนด้วย ภายใต้กรอบแนวความคิดการพึ่งพาตนเองของชุมชน
สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แต่การที่จะมีสุขภาพที่ดีได้นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลแต่ละคนเท่านั้น แต่จะขึ้นอยู่กับชุมชนและสังคมโดยส่วนรวมด้วย เพราะเรื่องของสุขภาพโดยภาพรวมไม่ใช่เรื่องของบุคคลเพียงคนเดียว แต่เป็นลักษณะขององค์รวม มีการบูรณาการและเชื่อมโยงส่งผลถึงกัน การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจึงต้องกระทำในระดับของชุมชนด้วยเพื่อสร้างเสริมการมีสุขอนานามัยที่ดีของสมาชิกในชุมชน และส่งเสริมการเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งทางด้านสุขภาพ เมื่อทุกชุมชนในประเทศมีสุขภาพที่ดีแล้ว ก็จะส่งผลให้ทุกคนโดยส่วนรวมในประเทศมีสุขภาพที่ดีขึ้นตามไปด้วย
อ่านเพิ่มเติม
ซึ่งส่งผลทำให้มีสุขภาวะทางกายทางจิตใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณ
ชุมชนจะมีสุขภาพดีได้นั้น ต้องสร้างแนวร่วมทางด้านสุขภาพ โดยใช้สมาชิกในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย ระดมความรู้ความสามารถ รวมทั้งระบุความต้องการทางด้านสุขภาพของคนในชุมชนโดยส่วนรวม เพื่อจำทำโครงการหรือจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเพื่อคนของชุมชน ทั้งนี้จะต้องไม่ลืมภูมิปัญญาทางการแพทย์องชุมชนด้วย ภายใต้กรอบแนวความคิดการพึ่งพาตนเองของชุมชน
สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แต่การที่จะมีสุขภาพที่ดีได้นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลแต่ละคนเท่านั้น แต่จะขึ้นอยู่กับชุมชนและสังคมโดยส่วนรวมด้วย เพราะเรื่องของสุขภาพโดยภาพรวมไม่ใช่เรื่องของบุคคลเพียงคนเดียว แต่เป็นลักษณะขององค์รวม มีการบูรณาการและเชื่อมโยงส่งผลถึงกัน การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจึงต้องกระทำในระดับของชุมชนด้วยเพื่อสร้างเสริมการมีสุขอนานามัยที่ดีของสมาชิกในชุมชน และส่งเสริมการเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งทางด้านสุขภาพ เมื่อทุกชุมชนในประเทศมีสุขภาพที่ดีแล้ว ก็จะส่งผลให้ทุกคนโดยส่วนรวมในประเทศมีสุขภาพที่ดีขึ้นตามไปด้วย
อ่านเพิ่มเติม
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558
หน่วยที่ 6โรคจากการประกอบอาชีพ และพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
โรค ทางพันธุกรรม หมาย ถึง โรคที่มีความผิดปกติขององค์ประกอบของจีนและโครโมโซม ซึ่งจีนและโครโมโซมนี้เป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรม เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นจะทำให้
เกิดการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์จากพ่อแม่สู่ ลูกโดยตรง
ชนิดของโรคทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม จำแนกได้ 3 ชนิด คือ
1. โรคทางพันธุกรรมที่เกิดความผิดปกติในการแบ่งตัวของโครโมโซม
ขณะกำลังเกิดการปฏิสนธิ หรือขณะที่ไข่และอสุจิผสมกันเป็นตัวอ่อนแล้ว
2. โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในการเรียงตัวของโครโมโซม
3. โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในการแยกคู่ของโครโมโซมในระหว่าง
การแบ่งตัว
เกิดการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์จากพ่อแม่สู่ ลูกโดยตรง
ชนิดของโรคทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม จำแนกได้ 3 ชนิด คือ
1. โรคทางพันธุกรรมที่เกิดความผิดปกติในการแบ่งตัวของโครโมโซม
ขณะกำลังเกิดการปฏิสนธิ หรือขณะที่ไข่และอสุจิผสมกันเป็นตัวอ่อนแล้ว
2. โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในการเรียงตัวของโครโมโซม
3. โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในการแยกคู่ของโครโมโซมในระหว่าง
การแบ่งตัว
โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคจากการประกอบอาชีพ โรคระบบหายใจ โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง
โรคระบบหายใจจากการประกอบอาชีพ เป็นโรคที่พบได้บ่อย เนื่องจากสารพิษที่เข้าสู่ร่างกาย ทางระบบทางเดินในรูปอนุภาค
ซึ่งสามารถเข้าสู่ระบบหายใจในระดับต่างๆ ตามขนาดของอนุภาค และทำให้เกิดโรคได้ตั้งแต่ระบบหายใจส่วนต้น เช่น ทำให้ มีอาการอักเสบของเยื่อบุจมูก เป็นหวัด เจ็บคอ จนถึงระบบหายใจส่วนปลาย ซึ่งทำให้เกิดโรคนิวไมโคนิโอสิสชนิดต่างๆ
นอกจากนี้อนุภาคเหล่านี้อาจไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย ทำให้หลั่งสารออกมากระตุ้นให้เกิดการตีบของหลอดลม ทำให้เป็นโรคหอบหืด หรือมีการหลั่งน้ำออกมาในถุงลมทำให้เป็นปอดอักเสบได้
ความสำคัญของโรคระบบหายใจจากการประกอบอาชีพ
ปอดเป็นอวัยวะที่ใช้ในการหายใจ ดังนั้นเมื่อเป็นโรคปอดไม่ว่าจากสาเหตุใด จะทำให้เกิดอาการไอ หอบ ไม่สามารถออกแรง หรือทำงาน จนกระทั่งหายใจตามปกติได้ โรคปอดจากการประกอบอาชีพ เป็นแล้วไม่หาย
โรคระบบทางเดินหายใจส่วนต้นนั้นวินิจฉัยยาก เช่น อาการน้ำมูกมากจากการระคายเคืองทำให้วินิจฉัยผิดว่าไม่ได้เกิดจากการประกอบอาชีพ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)